องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๑. วินัยและการรักษาวินัย

    ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้เหมาะสมกับกาละเทศะต่อผู้เรียน 

    ๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอื่น ๆ

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๑. วินัยและการรักษาวินัย

    ๑.๓ การมีเจตคติเชิงบวกกับประเทศชาติ

    ๑.๔ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นข้าราชการ

    ๑.๕ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นข้าราชการครู

    ๑.๖ การปฏิบัติตามกฎหมาย

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๒. คุณธรรม จริยธรรม

    ๒.๑ การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่นับถืออย่างเคร่งครัด

    ๒.๒ การเข้าร่วมส่งเสริม สนับสนุนศาสนกิจของศาสนาที่นับถืออย่างสม่ำเสมอ

    ๒.๓ การเห็นความสำคัญ เข้าร่วมส่งเสริม สนับสนุน เคารพกิจกรรมที่แสดงถึงจารีตประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นหรือชุมชน

    ๒.๔ การเห็นความสำคัญ เข้าร่วมส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมที่แสดงถึงจารีตประเพณี วัฒนธรรมของชาติ

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๒. คุณธรรม จริยธรรม

    ๒.๕ การมีจิตบริการและจิตสาธารณะ

    ๒.๖ การต่อต้านการกระทำของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ส่งผลต่อความมั่นคงของชาติหรือผลกระทบเชิงลบต่อสังคม    โดยรวม

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๓. จรรยาบรรณวิชาชีพครู

     ๓.๑ การพัฒนาวิชาชีพและบุคลิกภาพอย่างต่อเนื่อง

      ๓.๒ การมีวิสัยทัศน์ รู้และเข้าใจ สนใจ ติดตามความเปลี่ยนแปลง ด้านวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของไทย และนานาชาติในปัจจุบัน

      ๓.๓ การไม่อาศัยวิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่ถูกต้อง

      ๓.๔ การมุ่งมั่นต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้เรียน

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๓. จรรยาบรรณวิชาชีพครู

     ๓.๕ การให้ความสำคัญต่อการเข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง

      ๓.๖ รัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้บริการ ผู้เรียนทุกคน ด้วยความเสมอภาค

      ๓.๗ การประพฤติปฏิบัติตนเป็นที่ยอมรับของผู้เรีน ผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง ชุมชน

      ๓.๘ การไม่ปฏิบัติตนที่ส่ผลเชิงลบต่อกายและใจของนักเรียน

กระบวนการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ด้วย PEVLI Model เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา และลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของนักเรียนในพื้นที่ตำบลยางราก 

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๓. จรรยาบรรณวิชาชีพครู

     ๓.๙ การทำงานกับผู้อื่นได้โดยยึดหลักความสามัคคี เกื้อกูลซึ่งกันและกัน

       ๓.๑๐ การใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ นำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทางพัฒนาให้กับผู้เรียน โรงเรียน หรือชุมชน ในด้านใดด้านหนึ่ง (ด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และสิ่งแวดล้อม)

      ๓.๑๑ การยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

การแข่งขัน ผลการแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี กลุ่ม 2 ครั้งที่ 70

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๔. การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

     ๔.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

      ๔.๒ มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน

      ๔.๓ มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับภารกิจที่ได้รับมอบหมายอื่น 

      ๔.๔ มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับการดำรงชีวิตของตนเอง

      ๔.๕ เป็นแบบอย่างในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับภาระกิจต่าง ๆ หรือการดำรงชีวิตของตนเอง

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๕. จิตวิญญาณความเป็นครู

     ๕.๑ การเข้าสอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา

      ๕.๒ การตระหนักในความรู้และทักษะที่ถูกต้องรวมถึงสิ่งที่ดี ๆ ให้กับผู้เรียน

      ๕.๓ การสร้างความเสมอภาคเป็นธรรมกับผู้เรียนทุกคน

      ๕.๔ การรู้จักให้อภัย ปราศจาก อคติ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จ ตามศักยภาพ ความสนใจหรือความตั้งใจ

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๕. จิตวิญญาณความเป็นครู

     ๕.๕ การเป็นที่พึ่งให้กับผู้เรียนได้ตลอดเวลา

      ๕.๖ การจัดกิจกรรมส่งเสริม การใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ปลูกฝังและเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้เรียน

      ๕.๗ การทุ่มเทเสียสละในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน

องค์ประกอบที่ ๑ การประเมินผลการปฏิบัติตน

๖. จิตสำนึกความรับผิดชอบในวิชาชีพ

     ๖.๑ การมีเจตคติเชิงบวกกับวิชาชีพ

      ๖.๒ การมุ่งมั่น ทุ่มเทในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพและให้สังคมยอมรับ

      ๖.๓ ประพฤติปฏิบัติตนในการรักษาภาพลักษณ์ในวิชาชีพ

      ๖.๔ การปกป้อง ป้องกันมิให้ผู้ร่วมวิชาชีพประพฤติปฏิบัติในทางที่จะเกิดภาพลักษณ์เชิงลบต่อวิชาชีพ

      ๖.๕ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการใฝ่รู้ ค้นหาสร้างสรรค์ ถ่ายทอด ปลูกฝังและเป็นแบบอย่างที่ดีของเพื่อนร่วมงานและสังคม